Date 1 ม.ค. 2564
หน้าที่ของยาคือ “การแก้หรือรักษา” ไม่ใช่การป้องกัน
Date 1 ม.ค. 2564
ยุงไม่ได้ทำให้คนตายโดยตรง แต่มันนำมาซึ่งโรคที่ทำให้คนเป็นแล้วตายมากมาย ซึ่งโรคที่ทำให้คนตายเยอะสุดที่เกิดจากยุงก็คือมาลาเรีย ซึ่งในบ้านเราก็จะมีชื่อโบราณว่าไข้จับสั่น หรือไข้ป่า
Date 1 ม.ค. 2564
โรคนี้มักเกิดการระบาดในช่วงฤดูหนาว ซึ่งโรคนี้สามารถติดต่อได้จากการสัมผัสใกล้ชิดกับผู้ป่วย และสามารถติดต่อกันได้ง่ายเหมือนไข้หวัด ที่สำคัญคือกลุ่มเสี่ยงควรต้องหลีกเลี่ยงการคลุกคลีใกล้ชิดกับผู้ป่วยที่มีอาการ เพราะอาจทำให้มีอาการแทรกซ้อนที่รุนแรงได้
Date 1 ม.ค. 2564
สัตว์เผ่าพันธุ์นี้ยังดูเหมือนจะเป็นศัตรูตัวสำคัญ ในบางครั้งอาจจะไปถึงขั้นโรคร้ายที่มีอันตรายถึงชีวิต
Date 1 ม.ค. 2564
สถานการณ์ฝุ่น PM 2.5 หลายจุดมีค่าฝุ่นละอองเกินค่ามาตรฐาน และเริ่มส่งผลกระทบต่อสุขภาพของประชาชน โดยเฉพาะกลุ่มเสี่ยง
Date 1 ม.ค. 2564
ผู้ที่เสี่ยงต่ออาการชาจากโรคปลายประสาทอักเสบ ได้แก่ ผู้สูงอายุ ผู้ป่วยโรคเบาหวาน ผู้ที่รับประทานอาหารเจหรือมังสวิรัติ และผู้ที่ชอบเล่นมือถือ หรือใช้คอมพิวเตอร์เป็นเวลานาน
Date 1 ม.ค. 2564
วันนี้เราจะพามาดูกันว่า ปัจจัยที่ทำให้เราหิวตลอดเวลามาจากปัจจัยอะไรได้บ้าง แล้วก็ลองสำรวจตัวเองไปเลยดีกว่า ว่าที่คุณหิวตลอดเวลา คุณมีความปรารถนาเพราะอะไร
Date 1 ม.ค. 2564
เมื่อเข้าสู่ช่วงการเปลี่ยนฤดูในทุกครั้ง สภาพอากาศรอบตัวเราก็จะเปลี่ยนแปลงไปอย่างมาก จากร้อนเป็นฝน จากฝนเป็นหนาว และจากหนาวเป็นร้อน ด้วยเหตุนี้เองจึงทำให้ ป่วยเป็นไข้หวัดกันได้อย่างง่ายดาย
Date 1 ม.ค. 2564
ในช่วงที่ประเทศไทยมีการแพร่ระบาดของโควิด-19 ผู้สูงอายุถือเป็นกลุ่มเสี่ยงที่จะได้รับเชื้อโควิด-19 มากกว่าช่วงวัยอื่นๆ เนื่องด้วยสภาพร่างกายที่ไม่แข็งแรง ภูมิคุ้มกันลดลงตามวัย โดยเฉพาะผู้สูงอายุที่มีโรคประจำตัว เช่น โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคปอด โรคมะเร็ง กลุ่มนี้เป็นกลุ่มเสี่ยงที่จะรับโควิด-19 ได้ง่าย หากไม่ได้มีการดูแลและป้องกันอย่างดี
Date 1 ม.ค. 2564
เริ่มเข้าสู่ช่วงฤดูร้อน ระวังปัญหาสุขภาพโดยเฉพาะโรคฮีทสโตรก (Heat Stroke) หรือโรคลมแดด เกิดจากการที่ร่างกายได้รับความร้อนมากเกินไป จนทำให้ความร้อนในร่างกายสูงกว่า 40 องศาเซลเซียส ซึ่งโรคนี้เป็นได้ทุกเพศทุกวัย และมีอันตรายถึงแก่ชีวิตได้
Date 1 ม.ค. 2564
ขณะนี้ประเทศไทยอยู่ในช่วงฤดูฝน หากดูแลรักษาสุขภาพไม่ถูกต้อง อาจทำให้เกิดการเจ็บป่วยด้วยโรคต่างๆ ได้ โรคและภัยสุขภาพที่ต้องระวังในฤดูฝนมีดังนี้
Date 1 ม.ค. 2564
เนื่องจากฤดูฝนทำให้เกิดอุณหภูมิที่ลดลงอาจทำให้เชื้ออยู่ในสภาพแวดล้อมได้นานขึ้น และ ฤดูฝนอาจทำให้เกิดโรคที่มีอาการใกล้เคียงกับ COVID-19
Date 1 ม.ค. 2564
คนส่วนใหญ่อาจจะไม่คุ้นเคยกับโรคเบาหวานในเด็ก จนสงสัยได้ว่าเด็กเป็นโรคเบาหวานได้จริงหรือ
Date 8 ส.ค. 2565
เกิดจากการติดเชื้อไวรัสเดงกี มียุงลายเป็นพาหะนำโรค พบได้ทั้งในเด็กและผู้ใหญ่
Date 1 ม.ค. 2564
โรคหอบหืด เป็นโรคที่เกิดจากการอักเสบเรื้อรังของหลอดลม ทำให้เยื่อบุและผนังหลอดลมตอบสนองต่อสิ่งกระตุ้น จากภายใน และจากสิ่งแวดล้อมมากกว่าปกติ
Date 1 ม.ค. 2564
โรคนิ่ว มีปัจจัยสําคัญเกิดจากพฤติกรรมการกินอาหารที่มีโปรตีน เกลือ และน้ําตาลสูง อย่างต่อเนื่อง ดังนั้นต้องใช้คาถาห่างไกลจากโรคนิ่ว คือ “ดื่มน้ําสะอาด กินโปรตีนให้พอประมาณ ลดน้ําตาล ไม่ทานเค็ม”
Date 8 ส.ค. 2565
โรคเบาหวานเป็นโรคที่เกิดจากความผิดปกติของตับอ่อนที่ไม่สามารถผลิตฮอร์โมนอินซูลินได้หรือผลิตได้น้อย
Date 1 ม.ค. 2564
ภาวะแทรกซ้อนมักเกิดโรคเบาหวานมาอย่างน้อย 5 ปี โดยไม่ได้รับการรักษาอย่างจริงจัง หรือปล่อยปละละเลย โรคแทรกซ้อนที่อาจพบได้
Date 6 มี.ค. 2564
ฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน 2.5 ไมครอน (PM2.5) เป็นฝุ่นที่มีเส้นผ่านศูนย์กลางไม่เกิน 2.5 ไมครอน
Date 8 ส.ค. 2565
คนไทยป่วยเป็นมะเร็งเพิ่มมากขึ้น ส่วนใหญ่กว่าจะรู้ตัวว่าเป็นมะเร็งก็เข้าขั้นรุนแรงยากที่จะรักษา
Date 5 ต.ค. 2565
เกิดจากการอักเสบติดเชื้อบริเวณทอนซิลซึ่งเป็นต่อมคู่ข้างซ้ายและขวาที่อยู่บริเวณด้านข้างของลำคอ ทำหน้าที่ช่วยปกป้องร่างกายจากเชื้อโรคที่ผ่านเข้าลำคอหรือทางการหายใจ
Date 4 เม.ย. 2566
เมื่อร่างกายได้รับความร้อนกลไกการทำงานของร่างกายจะลดความร้อนและระบายความร้อน โดยลดกระบวนการเผาผลาญลง มีการขยายตัวของหลอดเลือดทำให้เหงื่อออกและหน้าแดง